3.1ความหมาย
มนุษย์ หมายถึง มนุษย์ ลักษณะความเป็นมนุษย์
สัมพันธ์ หมายถึง ความสัมพันธ์ ผูกพัน เกี่ยวข้องกัน
มนุษย์สัมพันธ์ หมายถึง กระบวนการสร้างความสัมพันธ์ของมนุษย์ เพื่อให้ได้มาซึ่งความยอมรับนับถือ ความไว้วางใจ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
3.2 ความสำคัญ
- เพื่อให้มีความเข้าใจอันดีต่อมนุษย์ด้วยกัน
- เพื่อให้เกิดความเชื่อถือ รักใคร่ซึ่งกันและกัน
- เพื่อให้เกิดความพอใจยินดีให้ความร่วมมือในการทำงาน
- เพื่อให้การคบหาสมาคมเป็นไปอย่างราบรื่น
- เพื่อให้เกิดความสำเร็จในการที่มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน
- เพื่อให้เกิดความเชื่อถือ รักใคร่ซึ่งกันและกัน
- เพื่อให้เกิดความพอใจยินดีให้ความร่วมมือในการทำงาน
- เพื่อให้การคบหาสมาคมเป็นไปอย่างราบรื่น
- เพื่อให้เกิดความสำเร็จในการที่มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน
3.3 หลักการมีมนุษย์สัมพันธ์
1. สุภาพอ่อนโยน มีกิริยาที่สุภาพ พูดจาไพเราะ ไม่โอ้อวด
2. มีน้ำใจที่จะช่วยเหลือผู้อื่น
3. ยิ้มแย้มแจ่มใส
4. รับผิดชอบ
5. ร่วมมือ รู้จักทำงานเป็นทีม
6. ไม่ทำตัวมีปัญหา
*7. คิดก่อนพูด
8. ตรงต่อเวลา
9. ไม่นินทา
10. อย่าโอ้อวด
11. จริงใจ
* 12. รู้จักอาวุโส
13. ไม่อิจฉา
14. มีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
15. ไม่โกรธง่าย อดทน ควบคุมอารมณ์ได้
2. มีน้ำใจที่จะช่วยเหลือผู้อื่น
3. ยิ้มแย้มแจ่มใส
4. รับผิดชอบ
5. ร่วมมือ รู้จักทำงานเป็นทีม
6. ไม่ทำตัวมีปัญหา
*7. คิดก่อนพูด
8. ตรงต่อเวลา
9. ไม่นินทา
10. อย่าโอ้อวด
11. จริงใจ
* 12. รู้จักอาวุโส
13. ไม่อิจฉา
14. มีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
15. ไม่โกรธง่าย อดทน ควบคุมอารมณ์ได้
3.4 ปัจจัยของการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
1. ความแตกต่างกันโดยธรรมชาติ เช่น อารมณ์ ความถนัด พฤติกรรม ทัศนคติ ความสามารถ รสนิยม สังคม นิสัย สุขภาพ รูปร่างและท่าทาง
2. ความแตกต่างของบุคคล เช่น เพศ วัย การศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ถิ่นกำเนิด สิ่งแวดล้อม เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และอิทธิพลของกลุ่ม
1. ความแตกต่างกันโดยธรรมชาติ เช่น อารมณ์ ความถนัด พฤติกรรม ทัศนคติ ความสามารถ รสนิยม สังคม นิสัย สุขภาพ รูปร่างและท่าทาง
2. ความแตกต่างของบุคคล เช่น เพศ วัย การศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ถิ่นกำเนิด สิ่งแวดล้อม เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และอิทธิพลของกลุ่ม
3.5 ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ (Basic Needs)
3.5.1 ความต้องการทางกาย (Physical Needs) เป็นความต้องการเกี่ยวกับการดำรงอยู่ของชีวิตและการสืบพันธุ์ ซึ่งได้แก่
- อาหาร
- เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค
- การพักผ่อน
- เพศ
3.5.2 ความต้องการทางจิตใจ (Mental Needs) ได้แก่
- ความมั่นคงปลอดภัย (Security)
- เกียรติยศ ชื่อเสียง การยกย่อง (Recognition)
- การยอมรับในสังคม (Belonging)
- ความสำเร็จและสมหวังในชีวิต (Success)
3.5.1 ความต้องการทางกาย (Physical Needs) เป็นความต้องการเกี่ยวกับการดำรงอยู่ของชีวิตและการสืบพันธุ์ ซึ่งได้แก่
- อาหาร
- เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค
- การพักผ่อน
- เพศ
3.5.2 ความต้องการทางจิตใจ (Mental Needs) ได้แก่
- ความมั่นคงปลอดภัย (Security)
- เกียรติยศ ชื่อเสียง การยกย่อง (Recognition)
- การยอมรับในสังคม (Belonging)
- ความสำเร็จและสมหวังในชีวิต (Success)
3.6 การปรับตัวเพื่อสร้างมนุษย์สัมพันธ์
1 ทักทายปราศรัยผู้อื่นก่อน
2 ไม่เห็นแก่ตัว ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
3 รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นเสมอ
4 ไม่ถือชั้นวรรณะ ฐานะ ไม่ดูถูกผู้ที่ด้อยกว่า
5 ด้านร่างกาย ควรปรับปรุงในเรื่องของการแต่งกาย ความสะอาดของร่างกาย การพูดจาและน้ำเสียงแจ่มใส
6 ด้านสติปัญญา เชาวน์ปัญญา หมั่นศึกษาหาความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ ในทุก ๆ เรื่อง
*7 ด้านทัศนคติ ควรปรับให้เป็นไปในทางบวก
2 ไม่เห็นแก่ตัว ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
3 รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นเสมอ
4 ไม่ถือชั้นวรรณะ ฐานะ ไม่ดูถูกผู้ที่ด้อยกว่า
5 ด้านร่างกาย ควรปรับปรุงในเรื่องของการแต่งกาย ความสะอาดของร่างกาย การพูดจาและน้ำเสียงแจ่มใส
6 ด้านสติปัญญา เชาวน์ปัญญา หมั่นศึกษาหาความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ ในทุก ๆ เรื่อง
*7 ด้านทัศนคติ ควรปรับให้เป็นไปในทางบวก
จริงใจ
ไร้ริษยา
อย่าป่วนจิต
คิดดีและมีน้ำใจ
ประโยชน์
3.7 ลักษณะของผู้มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี (เลือกเอา)
- ทำตนให้มีชีวิตชีวา ยิ้มแย้มแจ่มใส
- รู้จักควบคุมอารมณ์ของตน
- มีบุคลิกภาพที่ดี
- มีสัมมาคารวะ
- เป็นนักฟังที่ดี
- รู้จักใช้คำพูดหรือภาษาพูดให้เหมาะสม
- ไม่เป็นผู้เย่อหยิ่งถือตัว
- มีไมตรีจิตและมีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
- แสดงความชื่นชมบุคคลอื่นด้วยความจริงใจ
- พยายามจดจำลักษณะเด่น ๆ รวมทั้งชื่อ นามสกุล ของบุคคลให้ได้มากที่สุด
- แสวงหาความสนใจร่วมกัน คุยกันเรื่องที่สนใจหรือชอบเหมือน ๆ กัน
- ช่างซักถาม แต่อย่าให้มากจนเกินไป
- สนใจบุคคลอื่น ศึกษาความต้องการและความแตกต่างของบุคคลอื่น
- รู้จักทำตัวให้เป็นประโยชน์แก่บุคคลอื่น
- ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่น
- ต้องการให้ผู้อื่นมีความสุขและอยากให้ผู้อื่นพ้นทุกข์
- รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา
- ให้ความเคารพนับถือและให้ความร่วมมือที่ดี
- สร้างความสัมพันธ์ส่วนตัวกับบุคคลรอบข้าง
- เป็นคนมีศีลธรรม
- รู้จักควบคุมอารมณ์ของตน
- มีบุคลิกภาพที่ดี
- มีสัมมาคารวะ
- เป็นนักฟังที่ดี
- รู้จักใช้คำพูดหรือภาษาพูดให้เหมาะสม
- ไม่เป็นผู้เย่อหยิ่งถือตัว
- มีไมตรีจิตและมีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
- แสดงความชื่นชมบุคคลอื่นด้วยความจริงใจ
- พยายามจดจำลักษณะเด่น ๆ รวมทั้งชื่อ นามสกุล ของบุคคลให้ได้มากที่สุด
- แสวงหาความสนใจร่วมกัน คุยกันเรื่องที่สนใจหรือชอบเหมือน ๆ กัน
- ช่างซักถาม แต่อย่าให้มากจนเกินไป
- สนใจบุคคลอื่น ศึกษาความต้องการและความแตกต่างของบุคคลอื่น
- รู้จักทำตัวให้เป็นประโยชน์แก่บุคคลอื่น
- ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่น
- ต้องการให้ผู้อื่นมีความสุขและอยากให้ผู้อื่นพ้นทุกข์
- รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา
- ให้ความเคารพนับถือและให้ความร่วมมือที่ดี
- สร้างความสัมพันธ์ส่วนตัวกับบุคคลรอบข้าง
- เป็นคนมีศีลธรรม
3.8 ครูกับการสร้างมนุษย์สัมพันธ์
1 มนุษยสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา – วางตัวให้นอบน้อม
2 มนุษยสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา
3 มนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน – มีความรับผิดชอบ
4 มนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลภายนอกที่มาติดต่อกับสำนักงาน – จริงใจ
2 มนุษยสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา
3 มนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน – มีความรับผิดชอบ
4 มนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลภายนอกที่มาติดต่อกับสำนักงาน – จริงใจ
ปล. เนื้อหา /ข้อมูล คัดลอกมาจากสมุดจดบันทึกที่เรียน